“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมต้องเดินทางไปทำงานตรวจการทำงานซ่อมแซมและเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างอาคารเก่าในต่างจังหวัดซึ่งในวันนั้นจะต้องมีการตรวจสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มหรือ PILE INTEGRITY TEST ด้วย ซึ่งผลจากการไปดูงานวันนั้นทำให้ผมพบว่าในปัจจุบันยังมีวิศวกรหลายๆ คนที่ยังมีความเข้าใจที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไปจากข้อเท็จจริงหลายประการอยู่เหมือนกัน ดังนั้นผมจึงอยากจะขออนุญาตใช้พื้นที่ของการโพสต์นี้ในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” ขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินชนิดพิเศษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินชนิดพิเศษ กล่าวคือเราจะทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ก็ต่อเมื่อเรามีความต้องการที่จะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างที่ไม่ได้ตั้งอยู่บนบกเหมือนกันกับกรณีของงานก่อสร้างทั่วๆ ไปนั่นก็คือ งานประเมินกำลังของโครงสร้างประเภทที่เป็นท่าเทียบเรือน่ะครับ สาเหตุที่ผมเรียกการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ว่าเป็นการทดสอบชนิดพิเศษก็เพราะว่า เราไม่สามารถที่จะทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม รูปแบบหลักของการทรุดตัวของโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากเพื่อนๆ เป็นแฟนเพจของเรามานานน่าจะเคยได้อ่านบทความต่างๆ ของผมเกี่ยวกับเรื่องข้อเสียหรือความเสียหายต่างๆ ที่เกิดจาก การทรุดตัวของโครงสร้างฐานรากแบบไม่เท่ากัน หรือ DIFFERENTIAL SETTLEMENT อยู่บ่อยๆ ซึ่งผมมานั่งคิดๆ … Read More

การออกแบบโครงสร้างฐานรากแบบแผ่ หรือ BEARING STRUCTURAL FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณสองสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นมีน้องที่เป็นแฟนเพจของผมท่านหนึ่งได้สอบถามผมเข้ามาผ่านทางช่องทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างฐานรากแบบแผ่ หรือ BEARING STRUCTURAL FOUNDATION ซึ่งเราก็ได้สนทนากันในหลายๆ ประเด็นเลย หนึ่งในประเด็นที่มีความน่าสนใจก็คือคำถามของน้องท่านนี้ที่ได้สอบถามเข้ามาว่า เพราะเหตุใดในเขต … Read More

การตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะมาต่อกนในหน้าที่ 3 4 และ 5 หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาในการคำนวณในหน้าที่ 1 และ 2 … Read More

การออกแบบให้โครงสร้างเสาตอม่อโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มให้มีความสมมาตร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขอยกตัวอย่างสักหนึ่งตัวอย่างซึ่งก็จะมีความต่อเนื่องกับโพสต์เมื่อสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายไปว่า การที่เพื่อนๆ มักจะได้ยินคำแนะนำมาว่า จะต้องทำการเสริมโครงสร้างเสาเข็มให้เป็นแบบ “เลขคู่” เสมอนั้น ยังถือว่า “ไม่ถูกต้อง” เสียทีเดียวเพราะถ้าจะให้คำแนะนำที่มีความถูกต้องจริงๆ ควรจะต้องพูดว่า … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ จริงๆ แล้วผมตั้งใจที่จะนำเอาคำถามที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อๆ นี้ไปตอบในวันศุกร์ซึ่งก็คือวันพรุ่งนี้ ซึ่งสุดท้ายสาเหตุที่ผมได้เลือกนำเอามาโพสต์ในวันนี้เป็นเพราะคำถามในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากเสาที่อาศัยเข็มในการรับน้ำหนักนั่นเองครับ เนื่องจากว่าในช่วงเวลานี้ผมกำลังทำงานที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างเดิมอยู่พอดิบพอดี ซึ่งหนึ่งในโครงสร้างเหล่านั้นก็จะประกอบไปด้วยโครงสร้างฐานรากด้วย ซึ่งคำถามนั้นมาจากทางลูกค้าที่ได้สอบถามผมเข้ามาว่า “เพราะเหตุใดเวลาที่เราจะทำการเสริมโครงสร้างฐานรากที่อาศัยโครงสร้างเสาเข็มในการรับน้ำหนักไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 1 ต้น … Read More

การรับน้ำหนักปลอดภัยระหว่างกรณีของเสาเข็มสปันไมโครไพล์และโครงสร้างเสาเข็มเจาะ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอาประเด็นคำถามเกี่ยวกับเรื่องความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็มในหัวข้อที่ว่า เหตุใดเวลาที่เราทำการคำนวณโครงสร้างเสาเข็มที่มีรูปทรง หรือ มีขนาดกว้างและยาว หรือ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ที่เท่าๆ กัน … Read More

โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE ซึ่งผมได้ขออนุญาตใช้วิธีในการออกแบบตามมาตรฐาน AISC โดย วิธีการหน่วยแรงที่ยอมให้ หรือ ALLOWABLE … Read More

คู่มือวิศวกรรมฐานราก ค่าสปริง (K) ของดินสำหรับนำไปใช้ใน STRUCTURAL MODEL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอาบทความที่เขียนโดยท่านอาจารย์ ดร.พัลลภ วิสุทธิ์เมธานุกูล ผู้เขียนหนังสือ “คู่มือวิศวกรรมฐานราก” เอามาฝาก ซึ่งบทความๆ นี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง “ค่าสปริง (K) … Read More