ทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) ก่อนก่อสร้างอาคาร

ทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) ก่อนก่อสร้างอาคาร การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับที่ช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาด้านการรองรับน้ำหนักของวัตถุ นอกจากนั้นการทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น 1. สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว 2. ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ 3. … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” เกร็ดความรู้เกี่ยวกับลวดเหล็กตีเกลียวสำหรับที่ใช้ในงานคอนกรีตอัดแรงชนิดเจ็ดเส้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ สืบเนื่องจากช่วงนี้ผมมีงานออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างประเภทพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงเหล็กทีหลังหรือ POST-TENSIONED CONCRETE SLAB อยู่ในหลายๆ โครงการก่อสร้างเลยทำให้ผมต้องหมกตัวอยู่กับรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างประเภทนี้ นั่นจึงทำให้ผมนึกถึงรายละเอียดๆ หนึ่งขึ้นได้ซึ่งผมเชื่อเหลือเกินว่าเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะไม่ทราบกันว่า ภายในลวดอัดแรงชนิดลวดเหล็กตีเกลียวสำหรับที่ใช้ในงานคอนกรีตอัดแรงชนิด … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ความยากง่ายในการวิเคราะห์โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการไขข้อข้องใจกับปัญหาๆ หนึ่งที่ผมเคยได้ถูกสอบถามเข้ามาหลายครั้งแล้วว่า ระหว่างการวิเคราะห์ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เปรียบเทียบกันกับการวิเคราะห์ โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โครงสร้างแบบใดที่จะสามารถทำการวิเคราะห์โครงสร้างออกมาได้ง่ายหรือยากกว่ากัน? ผมขอตอบแบบกว้างๆ แบบนี้ก็แล้วกันว่า เนื่องจากว่าการที่โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กนั้นถือได้ว่าเป็นโครงสร้างประเภทวัสดุผสมหรือ COMPOSITE MATERIAL … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” เหตุใดจึงควรคำนึงถึงรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้ปรารภเป็นการส่วนตัวในหน้าเพจส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม ซึ่งสำหรับหลายๆ คนนั้นอาจจะคิดว่า … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสสนทนากับเพื่อนๆ ในเฟซบุ้คส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่องขั้นตอนต่างๆ ในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเสา ซึ่งเนื้อหาในวันนั้นผมได้พูดถึงหลายๆ หัวข้อที่มีความน่าสนใจ เช่น ค่า MAGNIFICATION … Read More

ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง การออกแบบเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาตัวอย่างที่เป็นการแสดงขั้นตอนในการคำนวณหาค่า MAGNIFICATION FACTOR โดยวิธีการละเอียดเอามาฝากให้แก่เพื่อนๆ โดยที่ตัวอย่างที่ผมจะนำเอามาให้เพื่อนๆ ดูในวันนี้จะเป็นการอธิบายการคำนวณให้ดูเฉพาะเพียงแค่การรับแรงดัดรอบแกนอ่อนของโครงสร้างเสา หรือ WEAK AXIS เพียงแค่แกนเดียว … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้างสำหรับวางแนวท่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับลักษณะของระบบโครงสร้างๆ หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วมีการใช้งานอย่างแพร่หลายโดยทั่วไปแต่สาเหตุที่เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะไม่มีความคุ้นเคยหรืออาจจะยังไม่รู้จักกันกับระบบโครงสร้างนี้ดีเพียงพอนั่นก็เป็นเพราะโดยมากแล้วระบบโครงสร้างดังกล่าวนี้จะมีการใช้งานอยู่ในงานประเภทที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานอุตสาหกรรมเป็นหลัก ซึ่งเจ้าระบบโครงสร้างนี้มีชื่อว่า ระบบโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อ หรือ PIPE RACK STRUCTURAL … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในหน้าที่ 6 ซึ่งเป็นหน้าสุดท้ายแล้ว ซึ่งก็คือรูปที่ผมได้นำเอามาประกอบคำอธิบายในวันนี้นะครับ โดยที่เนื้อหาในหน้าสุดท้ายนี้จะเป็นการคำนวณเพื่อที่จะตรวจสอบหาว่า สถานะของการเสียรูปในแนวดิ่งของโครงสร้างคานของเรานั้นเป็นเช่นใดเมื่อเราทำการพิจารณาจากค่าเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งเป็นค่าที่ยอมให้ตามที่ได้มีการระบุเอาไว้ใน CODE ใช่หรือไม่นะครับ ก่อนอื่นหน้านี้จะเริ่มต้นจากการที่เราต้องทำการพิจารณาถึงกรณีของ การเสียรูปในระยะยาว … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง – โครงสร้างหลังคายื่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้พูดถึงเรื่องโครงสร้างๆ หนึ่งในการโพสต์หลายๆ ครั้งของผม ซึ่งตลอดเวลาที่ผ่านมานั้นตัวของผมเองก็ไม่เคยมีโอกาสที่จะได้ทำการขยายความและอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างๆ นี้โดยละเอียดสักที ผมเลยอยากจะขอใช้พื้นที่ในการโพสต์ประจำทุกๆ วันพุธแบบนี้ในการพูดถึงเรื่องของเจ้าโครงสร้างประเภทนี้นั่นก็คือ โครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF … Read More