การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) การเลือกใช้งานคอนกรีตสำหรับงานสลิปฟอร์ออกมาทั้งหมด 5 ข้อ 1. แจ้งข้อมูลต่างๆ แวดล้อมการทำงานให้ชัดเจนกับทางโรงงานผู้ผลิต เช่น ความยากง่ายของการเข้าออกของสถานที่ก่อสร้าง เป็นต้น เพื่อให้ทางโรงงานผู้ผลิตได้ทราบและทำการออกแบบสัดส่วนการผสมคอนกรีตให้มีความเหมาะสมกับสภาพการณ์ตามที่ได้แจ้งไป 2. เมื่อมีการนำส่งคอนกรีตสำเร็จรูปเพื่อใช้สำหรับงานสลิปฟอร์มที่หน้างาน … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE มีทั้งหมด 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 แบบที่ไม่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัวหรือ NON-SHRINK GROUT ประเภทที่ 2 แบบที่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หากสังเกตดูจากรูป ใต้เหล็กแผ่นจะมีการเทให้เต็มด้วย NON-SHRINK … Read More

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่ คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ 1. คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน(Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น สำหรับฐานรากประเภทนี้ตัวโครงสร้างของฐานรากเองนั้นจะมีความยืดหยุ่นตัว หรือ สามารถที่จะมีการเคลื่อนตัวได้ หากทำการผนวกเอาวิชาทางด้านวิศวกรรมฐานรากตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION ENGINEERING เข้ากันกับทฤษฎีของโครงสร้างหรือ THEORY OF STRUCTURES สามารถที่จะทำการแทนให้แรงปฏิกิริยา ณ จุดรองรับของฐานรากประเภทนี้อยู่ในรูปแบบของแรงลัพธ์ที่เกิดจากสปริงที่มีความยืดหยุ่นตัวหรือว่า ELASTIC SPRING ได้ ซึ่งแรงลัพธ์ของสปริงที่มีความยืดหยุ่นตัวนี้จะสามารถจำแนกออกได้เป็น … Read More

คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย

คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย คุณสมบัติ คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย ถูกออกแบบมาให้มีคุณสมบัติความลื่นไหลสูงและมีการแยกตัวต่ำ จึงเหมาะสำหรับงานที่ต้องการความสามารถในการไหลเข้าแบบได้ง่ายกว่าคอนกรีตปกติทั่วไป และไม่ต้องทำคอนกรีตให้แน่น เช่นงานโครงสร้างอาคารที่มีเหล็กเสริมหนาแน่น เพื่อช่วยลดการเกิดโพรงที่บริเวณโครงสร้างเมื่อถอดแบบ คอนกรีตชนิดนี้มีหลักการออกแบบ ที่ต้องคำนึงถึงทั้งค่าอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ที่เหมาะสม และปริมาณส่วนละเอียดที่เพียงพอ ที่จะทำให้คอนกรีตไหลเข้าแบบได้ง่ายโดยไม่ต้องทำคอนกรีตให้แน่น นอกจากนี้ขนาดโตสุดและขนาดคละของมวลรวม ยังเป็นสิ่งสำคัญที่จำเป็นต้องคำนึงถึงอีกด้วย ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตชนิดนี้ ถูกออกแบบมาให้เหมาะสำหรับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่มีปริมาณเหล็กเสริมในปริมาณมาก โครงสร้างที่มีความหนาค่อนข้างน้อย หรือโครงสร้างเปลือกบาง … Read More

คอนกรีตที่ดีต้องบ่ม (ให้สุก)

คอนกรีตที่ดีต้องบ่ม (ให้สุก) เมื่อเทคอนกรีตเสร็จแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้เอง แต่ยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ถ้าต้องการให้คอนกรีตมีคุณภาพที่ดี มีความแข็งแรงทนทาน และใช้งานได้นาน ต้องทำการบ่มคอนกรีตเสียก่อน ซึ่งเมื่อผสมคอนกรีตต้องใช้น้ำในการผสม จะทำให้เกิดปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ เรียกว่าปฏิกิริยาไฮเดรชันทำให้คอนกรีตแข็งตัวและรับกำลังได้ ปกติแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้ภายใน 5 –6 ชั่วโมง ภายหลังจากการผสมน้ำ และมีกำลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเพิ่มกำลังของคอนกรีตไม่สามารถแยกได้ด้วยการดูจากตาเปล่า คือไม่สามารถบอกได้ว่าคอนกรีตที่เทพื้น กับคอนกรีตที่เทคาน … Read More

คอนกรีตกันซึม

คอนกรีตกันซึม คุณสมบัติ คอนกรีตชนิดนี้ เป็นคอนกรีตที่ถูกออกแบบมาให้มีความทึบน้ำ มากกว่าคอนกรีตปกติ โดยมีค่าการซึมผ่านของน้ำในระดับต่ำ ตามมาตรฐาน DIN 1048 ส่วนผสมคอนกรีตประเภทนี้มีการผสมน้ำยาประเภทกันซึม ลดปริมาณน้ำที่ใช้ในส่วนผสม และหน่วงการก่อตัว ตามมาตรฐาน ASTM C 494 ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตประเภทนี้ เหมาะสำหรับงานที่ต้องการป้องกันการซึมผ่านของน้ำ มากกว่าคอนกรีตปกติ … Read More

ประเภทการเกิดรอยร้าวของคอนกรีต ที่คอนกรีตเริ่มแข็งตัว

ประเภทการเกิดรอยร้าวของคอนกรีต ที่คอนกรีตเริ่มแข็งตัว การสร้างอาคารใหม่ จำเป็นจะต้องมีการควบคุมการทำงานโดยผู้เชี่ยวชาญ เพื่อลดปัญหาการแตกร้าวของคอนกรีต ที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น แต่บางครั้งการเทคอนกรีตไม่ถูกวิธีก็อาจจะสร้างรอยร้าวขึ้นมาได้ ซึ่งรอยร้าวชนิดนี้จะเกิดขึ้นภายในระยะเวลา 2 – 8 ชั่วโมง ภายหลังจากการเทคอนกรีต โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดรอยแตกร้าวชนิดนี้แบ่งออกเป็นประเภทหลักๆ ได้ดังนี้ – การขยับตัวของแบบหล่อคอนกรีต (Form or Subgrade … Read More